ทับทิมเพชรรัตน์ (ทวิชา)

ทับทิมเพชรรัตน์ (ทวิชา)

0 รีวิว  0 รีวิว    
รหัสสินค้า: 9789742535070
สั่งจองสินค้า (ต้องการสินค้า)
ราคา: 210.00 บาท 52.50 บาท
ประหยัด: 157.50 บาท ( 75.00% )

เนื้อหาบางส่วน

โศก สลัก ทรวง ไหม้ ฤทัย หมอง

สะอื้น อ้อน กร กอด พระ โกศ ทอง

ชลเนตร ตก ต้อง พระ ป ราง นาง๑

สุสาน หลวง วัด ราช บพิธ สถิต มหา สีมา ราม

กลิ่น หอม อ่อนๆ ของ ดอกไม้ ลอย มา กับ สาย ลม ยาม สาย วัน นี้ ทำให้ หญิง

ชรา ผู้ หนึ่ง ซึ่ง มือหนึ่ง ถือ ไม้เท้า เดิน กระย่องกระแย่ง มา ถึง หน้า อนุสาวรีย์ พระ-

ปรางค์ สาม ยอด หญิง ชรา นาง นั้น พยายาม นั่ง ลง กับ พื้น และ ก้ม ลง กราบ บรรจง

วาง พวงมาลัย เขี้ยว กระแต ซึ่ง ประดิษฐ์ อุ บะ แบบ สร้อย สน พร้อม กับ ก้ม ลง กราบ

นิ่ง สงบ อยู่ อย่าง นั้น เป็น เวลา นาน

“ดิฉัน มา แทน คุณ จอม อีก ปี แล้ว เจ้า ค่ะ ยัง ไม่ รู้ ว่า ปี หน้า ดิฉัน จะ มี แรง ออก

จาก บ้าน ได้ มา ทำ แทน คุณ จอม อีก หรือ เปล่า หรือ ไม่ ดิฉัน ก็ อาจจะ ตาย ไป แล้ว

ก็ได้ เจ้า ค่ะ”

คุณ อุณาโลม ใน วัยชรา นึก ขึ้น ก่อน ที่ จะ ใช้ สายตา ที่ พร่า เลือน ทอด มอง ไป

ยัง พระปรางค์ นั้น ไม่ นาน เสียง หนึ่ง ก็ ดัง ขึ้น เบาๆ ทำลาย ความคิด ของ อุณาโลม

“คุณ ทวด เจ้าขา รีบ กลับ กัน เถอะ ค่ะ ฝน กำลัง จะ ตก แล้ว” หญิง สาว

พูดขึ้น พร้อม กับ เดิน ตรง ไป ช่วย พยุง อุณาโลม ให้ ลุก ขึ้น

“ขอบใจ จ้ะ หลาน เห็น ที ว่า ปี หน้า ทวด คง ไม่ มี แรง มา ทำ แทน คุณ จอม

จร รม พัน ธ์ เป็น แน่ ถ้า ไม่ ตาย เสีย ก่อน ก็ คง ได้ นอน เป็น ผัก เป็น หญ้า อยู่ ที่ บ้าน”

“คุณ ทวด แข็ง แรง ออก ค่ะ แต่ ถ้า คุณ ทวด มา ไม่ ไหว จริงๆ เดี๋ยว หนู มา

ทำ แทน ให้ เอง ค่ะ หนู สัญญา ว่า จะ มา ทำ แทน คุณ ทวด ทุก ปี มิ ให้ ขาด”

“ดี…ขอบใจ หนู ขวัญ มาก ทวด จะ ได้ สบาย ใจ ตาย ตา หลับ”

หม่อมหลวง ขวัญ ข้าว ไม่ ได้ พูด อะไร อีก เพียง แต่ สวมกอด คุณ ทวด ให้ แน่น

ขึ้น ก่อน จะ พา กัน เดิน ไป ขึ้น รถ ที่ จอด รอ รับ อยู่ ที่ หน้า วัด

เมื่อ ขึ้น มา อยู่ บน รถ หม่อมหลวง ขวัญ ข้าว ก็ พูด ขึ้น

“คุณ ทวด ทราบ แล้ว ยัง คะ ว่า คุณ แม่ จะ ขาย ที่ ที่ เชียงราย กับ ที่ บาง ลำพู

แล้ว” หญิง สาว ยัง คง เล่า ต่อ ไป

“นอกจาก ขาย ที่ แล้ว คุณ แม่ ยัง ว่า จะ ขาย รัดเกล้า ทับทิม เพชรรัตน์ ด้วย ค่ะ

เห็น คุณ แม่ บอก ว่า จะ พยายาม รวบรวม เงิน ไป ซื้อ หุ้น โรง พยาบาล ที่ ฮ่องกง มา

เป็น ของ เรา เอง ทั้งหมด”

คุณ อุณาโลม ได้ แต่ นึก ใน ใจ ‘และ แล้ว สิ่ง ที่ กลัว มา ตลอด ก็ เกิด ขึ้น จริงๆ’

“แล้ว คุณ ศรี เธอ จะ ขาย รัดเกล้า ทับทิมเพชรรัตน์ ให้ ใคร หนู รู้ หรือ เปล่า”

“เห็น ได้ ข่าว ว่า จะ ขาย ให้ กับ บริษัท ที่ รับ ประมูล เครื่อง เพชร ที่ อเมริกา นะ คะ

คุณ ทวด พอ คุณ แม่ ขาย ให้ เขา ก็ คง เอา ไป ประมูล อีก ที”

“แล้ว หนู ไม่ เสียดาย หรือ ลูก ของ เก่า แก่ ตกทอด กัน มา ตั้งแต่ สมัย รัชกาล

ที่ ห้า” คุณ อุณาโลม ถาม ขึ้น

“เสียดาย ค่ะ เสียดาย มาก ด้วย หนู พยายาม บอก คุณ แม่ หลาย ครั้ง แล้ว

แต่ คุณ แม่ ก็ ไม่ เชื่อ”

คุณ อุณาโลม อด นึกถึง คุณ ศรี หรือ ศรีตรัง ผู้ เป็น ภริยา ของ หม่อมราชวงศ์

รชนิ ชล โอรส เพียง คน เดียว ของ หม่อมเจ้า วิฑูรฯ และ หม่อม รัดเกล้า ไม่ ได้ หลัง

จาก คุณชาย น้ำค้าง สมรส กับ ศรีตรัง ได้ ไม่ นาน ก็ ให้ กำเนิด แม่ หนู ขวัญ ข้าว มา เป็น

แก้วตา ดวงใจ หลังจาก นั้น อีก เพียง ไม่ กี่ ปี คุณชาย บิดา ของ หม่อมหลวง ขวัญ-

ข้าว ก็ จบ ชีวิต ลง ด้วย โรค หัวใจ จึง ทำให้ ศรีตรัง ผู้ เป็น ภริยา ก้าว เข้า มา บริหาร โรง-

พยาบาล ปร ชา บดี ราษฎร์ วัฒนา แทน

ใน สายตา ของ อุณาโลม ที่ ผ่าน โลก มา มาก นาง จึง เห็น ว่า คุณ ศรีตรัง ผู้ นี้

มี คุณสมบัติ ที่ ออก จะ เรียก ว่า รัก ตัวเอง มาก กว่า ผู้ อื่น พยายาม ดัน ฐานะ ตัวเอง

จาก ผู้ ช่วย เลขานุการ ขึ้น มา เป็น ภริยา ของ คุณชาย ทายาท เจ้าของ โรง พยาบาล

เอกชน ที่ เก่า แก่ ที่สุด ได้

หม่อมหลวง ขวัญ ข้าว ทำลาย ความคิด ของ อุณาโลม อีก ครั้ง

“คุณ ทวด ไม่ ลอง พูด กับ คุณ แม่ อีก ที หรือ คะ ยับยั้ง ไม่ ให้ ท่าน ขาย รัดเกล้า

ทับทิม เพชรรัตน์ บางที คุณ แม่ ท่าน อาจจะ เกรงใจ คุณ ทวด บ้าง”

คุณ อุณาโลม คิด ก่อน ที่ จะ พูด ให้ หม่อมหลวง ขวัญ ข้าว ฟัง ว่า

“ลอง คุณ ศรี คิด จะ ขาย ใคร ก็ ห้าม ไม่ ได้ หรอก ลูก คุณ ศรี เธอ คง คิด ไว้

แล้ว เห็น ที ว่า คง ต้อง ปล่อย ให้ ของ รัก ของ คุณ จอม ตก ไป อยู่ ใน มือ คน อื่น”

“ขวัญ ลอง คิดๆ ดู ก็ เห็น พี่ พาย กับ พี่ เพชร ออก จะ รัก แหวน กับ เข็มกลัด มาก

ภูมิใจ เสีย เป็น หนักหนา ว่า เป็น ของ เก่า แก่ ประจำ ตระกูล” หม่อมหลวง ขวัญ ข้าว

หมาย ถึง หม่อมหลวง พร พระ พาย และ หม่อมหลวง เพชร พันปี ซึ่ง มี ศักดิ์ เป็น ญาติ ผู้พี่

“หนู ขวัญ รู้ หรือ เปล่า ว่า นอกจาก จะ มี รัดเกล้า เข็มกลัด และ แหวน แล้ว

ใน เครื่องประดับ ทับทิม เพชร รัตน์ ยัง มี เครื่องประดับ ชิ้น อื่น อีก นะ”

“แล้วไป ไหน เสีย ละคะ หนู ไม่ เคย เห็น เลย แถม ไม่ มี ใคร พูด ถึง ด้วย”

หม่อมหลวง ขวัญ ข้าว พูด อย่าง กระตือรือร้น กับ เรื่อง ใหม่ ที่ เพิ่ง เคย ได้ยิน

“คุณ ศรี คง ไม่ รู้ เรื่อง เลย ไม่ ได้ เล่า ให้ หนู ฟัง ละ สิ ว่าน อก จาก เครื่องประดับ

ทับทิม เพชร รัตน์ สาม ชิ้น ที่ หนู เห็น แล้ว ยัง มี เครื่องประดับ อีก สี่ ชิ้น เข้า ชุด กัน”

“มี อะไร บ้าง คะ คุณ ทวด”

“มี ปิ่น ปัก ผม สร้อย กำไล แล้ว ก็ ปั้น เหน่ง”

“แล้ว ตอน นี้ เครื่องประดับ อีก สี่ ชิ้น ไป อยู่ ที่ไหน เสีย ล่ะ คะ ขวัญ ไม่ เคย เห็น

เลย จะ ว่า ตก ไป อยู่ ใน เครือ ญาติ ของ เรา หนู ก็ ไม่ เห็น มี ใคร พูด ถึง”

“ถูก ขโมย ไป จ้ะ หลาน เรื่อง เกิด ตั้งแต่ สมัย คุณ พ่อ ของ หนู ยัง ไม่ เกิด ด้วย

ซ้ำ ตอน นั้น ทวด น่า จะ อายุ ประมาณ ยี่สิบ เห็นจะ ได้”

“เสียดาย จัง เลย ค่ะ” หม่อมหลวง ขวัญ ข้าว พูด ขึ้น

“ทวด จำ ได้ ว่า ตอน นั้น ลง เป็น ข่าว ใหญ่ โต เลย แต่ หลังจาก นั้น อีก หลาย ปี

ทวด ก็ พอ จะ รู้ บ้าง ว่า เครื่องประดับ ชุด ทับทิม เพชร รัตน์ เดินทาง ไป อยู่ ที่ไหน บ้าง”

“หรือ คะ แล้วไป อยู่ ที่ไหน บ้าง คะ คุณ ทวด”

คุณ อุณาโลม หยุด คิด ลำดับ เรื่องราว ทั้งหมด พร้อม กับ เริ่มต้น เล่า การ เดินทาง

ของ เครื่องประดับ สูง ค่า อย่าง ทับทิม เพชร รัตน์ อีก ครั้ง หนึ่ง…

                                                จรรมพันธ์

บาง ลำพู พุทธศักราช ๒๔๖๗

ปี ที่ ๑๕ รัชสมัย พระ บาท สมเด็จ พระ มงกุฎ เกล้า เจ้า อยู่ หัว

บุญ เจ้าจอม ภพ พื้น แผ่น สยาม

แสยง พระ ยศ ยิน ขา ขาด แกล้ว

พระ ฤทธิ์ ดั่ง ฤทธิ์ ราม รอน รา พณ์ แล K

ราญ อริ ราช แผ้ว แผก แพ้ ทุก ภาย

สาย วัน นี้ณ คฤหาสน์ สถาปัตยกรรมควีนแอนน์ละแวก บาง ลำพู ตัว

คฤหาสน์ เป็น ตึก สอง ชั้น หลังคา จั่ว และ มี ส่วน หนึ่ง เป็น หอคอย สูง สาม ชั้น ตัวตึก

นั้น ประกอบ ด้วย หลังคา ที่ มี การ ซ้อน ชั้น ขึ้น ไป จนถึง ส่วน หอคอย และ การ ตกแต่ง

ด้วย ไม้ แกะ สลัก และ เสา ประดับ ที่ ยอด จั่ว ตัว คฤหาสน์ ทั้งหมด ทาสี กุหลาบ แก่

ตาม วัน คล้าย วัน เกิด ของ เจ้าจอม เจ้าของ ตึก

“แม่ อุณาโลม ดู ท่านชาย กับ ท่านหญิง ไว้ นะ อย่า ให้ เข้าไป ห้อง คุณ จอม

เวลา นี้ ประเดี๋ยว จะ ตกใจ เอา” หม่อม จร วย ลักษณ์ พูด ขึ้น แล้ว ถาม ต่อ ไป

“พระ ที่ ให้ นิมนต์ มา แม่ อุณาโลม ให้ ใคร ไป จัดการ หรือ ยัง”

“ให้ น้า ชุบ ไป นิมนต์ มา แล้ว ค่ะ หม่อม สัก ครู่ คง จะ มา” อุณาโลม พูด ยัง

ไม่ ทัน ขาดคำ นาย ชุบ มหาดเล็ก ก็ นิมนต์ ท่าน เจ้าอาวาส วัด ที่ อยู่ ใกล้ๆ กับ วัง

สวามี ของ หม่อม จร วย ลักษณ์ ก็ มา ถึง หน้า เรือน ของ เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ “มา นั่น

แล้ว ค่ะ หม่อม”

“นิมนต์ เจ้า ค่ะ” หม่อม จร วย ลักษณ์ ยกมือ ขึ้น ไหว้ พร้อม กับ พูด ขึ้น

“นิมนต์ พระคุณเจ้า ที่ ห้อง คุณ จอม เลย เจ้า ค่ะ” หม่อม จร วย ลักษณ์ นำ

ท่าน พระครู เดิน ผ่าน บริเวณ โถง บันได เรือน ที่ หัว บัน ได มี ลายเซ็น เล็กๆ ของ

สถาปนิก ชาว อิตาลี ซึ่ง เป็น ผู้ ออก แบบ คฤหาสน์ งาม หลัง นี้

ห้อง บน ชั้น สอง มี ห้อง เพียง สอง ห้อง ห้อง แรก ซึ่ง เป็น ห้อง ใหญ่ กว่า มี

ชาย หญิง สูง วัย นั่ง อยู่ บน หมู่ เก้าอี้ แขน อ่อน สี่ ห้า คน เมื่อ เห็น พระ ภิกษุ ที่ นิมนต์

มา ต่าง ก็ ก้ม ลง กราบ กับ พื้น แล้ว จัดแจง นำ เก้าอี้ มา วาง ไว้ ใกล้ๆ กับ เตียง ไม้ สัก

ขนาด ใหญ่ ซึ่ง ประดับ ด้วย เสา เล็กๆ สี่ ด้าน สลัก เป็น ลาย ดอก บุ น นาค ดอก เล็ก

ดอก น้อย กระจาย อยู่ บริเวณ โคน เสา เมื่อ มอง ขึ้น ไป ก็ พบ ว่าที่ เสา ทั้ง สี่ ด้าน

แขวน ด้วย ม่าน ผ้า ไหม ทอ อย่าง ดี สอง ชั้น ชั้น แรก เป็น ผ้าลูกไม้ ปัก เป็น ลาย ดอก

บุ น นาค ผืน ยาว จรด ขา เตียง เป็น สี ที่ เจ้าจอม มัก จะ เรียก เสมอ ว่า สี ‘สี กุหลาบ

แก่’ ผืน ที่ สอง เป็น ไหม ผืน ยาว จรด ปลาย ขา เตียง เช่น กัน สี นวล สะอาด ตา

ที่ เตียง นอน ปู เรียบ ด้วย ผ้า ปู ที่นอน สี เดียว กับ ผ้า ม่าน มี หมอน สี่ ใบ วาง

ซ้อน เรียง กัน อยู่ อย่าง สวย งาม ที่ หมอน สอง ใบ มี ปัก อักษร ย่อ ท่าน เจ้าของ ห้อง

คือ จ.พ. ตัว อักษร ปัก ด้วย ไหม เงิน ดุน นูน มี เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ นอน พิง อยู่ ส่วน

ผ้า ห่ม ที่ คลุม ร่าง ของ ท่าน นั้น เป็น สี กุหลาบ แก่ เช่น เดียว กับ เครื่อง นอน ชนิด อื่นๆ

ด้าน ปลาย ผืน ปัก ด้วย ไหม น้อย สี อ่อนๆ เป็น รูป ดอก บุ น นาค ระบาย อยู่ เต็ม ทั้ง ผืน

ที่ ข้าง โต๊ะ ด้าน ที่ ติด กับ เก้าอี้ ที่ ท่าน พระครู ลง นั่ง นั้น มี โต๊ะหมู่บูชา ขนาด เล็ก มี

พระ พุทธ รูป ปาง นาคปรก สมัย ลพบุรี ตั้ง อยู่ แวดล้อม ด้วย แจกัน ดอกบัว ที่ พับ กลีบ

อย่าง สวย งาม ตรง หน้า พระ พุทธ รูป มี มาลัย เขี้ยว กระแต ตรง ชาย ประดิษฐ์ ด้วย

อุ บะ สร้อย สน พวง หนึ่ง ประดับ อยู่ ชั้น ล่าง สุด ของ โต๊ะหมู่ มี ขวด แก้ว เจียระไน

ขนาด ต่างๆ กัน ข้าง ใน บรรจุ ดอก จำปา ดอง เรียง เป็น ชั้น อย่าง สวย งาม ประดับ อยู่

ทั้ง ซ้าย ขวา เป็น พุทธ บูชา

ส่วน ห้อง ที่ สอง ซึ่ง อยู่ ติด กัน เป็น ห้อง พระ นั้น ประดับ ด้วย ปราสาท จำลอง

ทำ ด้วย ไม้ แกะ สลัก ลงรัก ติด กระจก ประดิษฐาน พระ สยาม เท วา ธิ ราช อยู่ ชั้น บนสุด

ชั้น รอง ลง มา ประดิษฐาน พระ พุทธ รูป ถัด รอง ลง มา ตั้ง พาน ใหญ่ สี่ พาน ภายใน

แต่ละ พาน บรรจุ ด้วย พระ พุทธ รูป องค์ เล็ก องค์ น้อย และ พระเครื่อง อยู่ แน่นขนัด

บน ฝา ผนัง รอบ ห้อง พระ ที่ มุม ห้อง ทั้ง สี่ ด้าน มี ภาพ เขียน แขวน ไว้ เป็นรูป

อาวุธ ที่ ใช้ ใน การ รบ บน หลัง ช้าง ใน การ ทำ ยุทธหัตถี นอกจาก นี้ ยัง มี ภาพ เขียน

ขนาด ไม่ ใหญ่ มาก นัก แขวน อยู่ เหนือ ประตู หน้าต่าง เป็น ภาพ เขียน พระ สาทิ สลัก ษณ์

ของ พระ บรม มหา กษัตราธิราช เจ้า ด้าน ล่าง มี ชั้น ที่ วาง ดาบ แกะ สลัก โบราณของ

เก่า แก่ ตั้งแต่ สมัย บิดา ของ เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ ระเบียง ด้าน ข้าง ทาง เข้าประตู

ทั้ง สอง ด้าน มี ตู้ พระ ธรรม ลาย รดน้ำ สมัย ปลาย พระเจ้า ช้างเผือก ซึ่งบัดนี้ มี

ท่านชาย และ ท่านหญิง ประทับ อยู่ ใน ห้อง พระ นั้น

เสียง สั่น เครือ เสียง หนึ่ง ดัง ขึ้น จาก ที่ ใกล้ กับ ที่ ท่าน พระครู นั่ง อยู่ ข้างๆ

“ท่าน พระครู เจ้า คะ คราว นี้ ดิฉัน ตก ทุกข์ ได้ ไข้ อย่าง หนัก ทราบ ว่า หมอ

หมด ทาง เยียวยา รักษา เสีย แล้ว เห็น ที ว่า คง จะ ไม่ อยู่ รอด ไป ถึง ย่ำรุ่ง พรุ่งนี้ เสีย

แน่แท้ ดิฉัน จึง นิมนต์ ท่าน มา โปรด เป็น ครั้ง สุดท้าย เจ้า ค่ะ”

“ใจเย็นๆ เถอะ โยม จร รม พัน ธ์ เรื่อง เกิด แก่ เจ็บ ตาย นั้น เป็น ของ คู่ กับ เรา

ทุก ผู้ ทุก คน เรา ไม่ อาจ ยื้อ ชีวิต เหนือ พญา มัจจุราช ได้ โยม ทำใจ ให้ สงบ เถอะ

นึกถึง คำสั่งสอน ของ พระ พุทธ โค ดม ไว้ เถอะ โยม จร รม พัน ธ์”

เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ รับ ฟัง ด้วย อาการ สงบ นิ่ง…

หลังจาก ถวาย ภัตตาหาร ฟังเทศน์ สมาทาน ศีล เสร็จ อาการ ของ เจ้า-

จอม จร รม พัน ธ์ ก็ ทรุด หนัก ลง นำ มา ซึ่ง ความ เป็นห่วง ของ ผู้ ใกล้ ชิด เป็น อย่าง ยิ่ง

ใน ห้อง นอน ของ เจ้าจอม ไม่ มี ใคร พูด คุย กัน สายตา ทุก คู่ ต่าง จดจ้อง ไป ที่ เจ้า-

จอม ซึ่ง นอน สงบ อยู่ บน เตียง นาน ครั้ง ที่ เจ้าจอม คล้าย กับ จะ พูด อะไร บาง อย่าง

ครั้นพอ หม่อม จร วย ลักษณ์ ผู้ เป็น น้อง สาว พยายาม จะ จับใจ ความ แต่ ไม่ ได้ ผล จึง

หัน มา ถาม หญิง สาว ที่ หมอบ อยู่ ใกล้ๆ

“แม่ อุณาโลม ได้ยิน หรือ ไม่ ว่า คุณ พี่ พูด ว่า อะไร”

อุณาโลม ขยับ เข้าไป ใกล้ๆ เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ พยายาม จะ จับ คำ พูด ของ

ท่าน ผู้ ป่วย แต่ ก็ ฟัง ไม่ ได้ยิน

“ไม่ ได้ยิน เจ้า ค่ะ หม่อม”

ครั้น แล้ว เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ ก็ ลืมตา ขึ้น พูด ด้วย น้ำเสียง แผ่ว เบา จน

ทำให้ ผู้ ฟัง ทั้ง สอง ต่าง ขยับ เข้า ใกล้ๆ

“พี่ ฝัน…” เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ พึมพำ

“คุณ พี่ ฝัน อะไร เจ้า คะ เล่า ให้ น้อง กับ แม่ อุณาโลม ฟัง บ้าง จะ ได้ ช่วย กัน

แก้ ฝัน ไง เจ้า คะ”

ไม่ มีเสียง ตอบ จาก เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ สายตา เลื่อนลอย ทอด มอง ออก

ไป ทาง ประตู เมื่อ บุคคล ที่ อยู่ ใน ห้อง มอง ตาม สายตา เจ้าจอม ไป บ้าง ก็ พบ แต่

ความ ว่าง เปล่า

“ฉัน ขนลุก” เสียง สตรี คน หนึ่ง ที่นั่ง ห่าง ออก ไป พูด ขึ้น ทำลาย ความ เงียบ

ก่อน ที่ จะ พูด ออก คำสั่ง

“แม่ อุณาโลม ฉัน ขอแรง ช่วย ไป สั่ง บ่าว ข้าง นอก ให้ เปิด ฟืน ไฟ ให้ ทั่ว ทั้ง

เรือน ที บ่าวไพร่ คน ไหน ที่ ว่าง ก็ ให้ มา คอย เฝ้า เจ้าจอม อยู่ ข้าง ล่าง”

“เจ้า ค่ะ ท่านผู้หญิง” อุณาโลม รับคำ สั่ง พร้อมๆ กับ คลาน ออก ไป นอก ห้อง

เวลา ผ่าน ไป อีก หลาย ชั่วโมง ผู้ ที่มา เฝ้า ดู อาการ เจ้าจอม ก็ มาก ขึ้น ทุก คน

ล้วน แล้วแต่ เป็น ญาติ สนิท ทั้งนั้น จาก หมู่ เก้าอี้ ที่นั่ง ได้ เพียง สี่ ห้า คน ก็ ถูก ยก ออก

เปลี่ยน เป็น เสื่อ ผืน ใหญ่ มา ปู แทน

เสียง พูด คุย กระซิบกระซาบ พอได้ ยิน กัน แต่ เฉพาะ ผู้ พูด ด้วย เกรง ว่า จะ

เป็นการ รบกวน การ พักผ่อน ของ เจ้าจอม

แต่ แล้ว ก็ มีเสียง นาฬิกา ตั้ง พื้น เรือน ใหญ่ ที่ ตั้ง อยู่ ที่ ห้อง รับแขก ด้าน ล่าง

ตีบ อก เวลา

เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ สะดุ้ง ลืมตาตื่น ขึ้น หม่อม จร วย ลักษณ์ และ อุณาโลม

คลาน เข้าไป ใกล้ เตียง

“คุณ พี่ ตื่น แล้ว รับ ข้าวต้ม เสีย หน่อย นะ เจ้า คะ”

“ยัง…พี่ ยัง ไม่ หิว” ท่าน เจ้าจอม พยายาม ตอบ ด้วย น้ำเสียง แผ่ว เบา

“เมื่อกี้ พี่ ฝัน อีก แล้ว”

“คุณ พี่ ฝัน เรื่อง อะไร เจ้า คะ ฝัน เรื่อง เดียว กับ เมื่อ ตอน บ่าย หรือ เปล่า

เจ้า คะ”

ไม่ มีเสียง ตอบ กลับ มา จาก เจ้าจอม จร รม พัน ธ์ สายตา ขุ่นมัว จับ จ้อง ไป

ทาง ประตู อีก ครั้ง ก่อน ที่ จะ หลับตา ลง ความ ฝัน เรื่องราว แต่ ครั้ง เก่า ก่อน หวน

กลับ มา อีก ครั้ง…

* * *

พุทธศักราช ๒๔๓๕

 

                (โปรดติดตามต่อในฉบับเต็ม)


รีวิว (0)


สินค้าที่ใกล้เคียง (96 รายการ)

www.batorastore.com © 2024